วันพฤหัสบดีที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2555

ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง

สาระที่ ๑  ภาษาเพื่อการสื่อสาร
มาตรฐาน ต .    เข้าใจและตีความเรื่องที่ฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่างๆ และแสดงความคิดเห็น  อย่างมีเหตุผล
. -

. ปฏิบัติตามคำแนะนำในคู่มือ
การใช้งานต่างๆ  คำชี้แจง คำอธิบาย และคำบรรยายที่ฟังและอ่าน
คำแนะนำ  คำชี้แจง  คำอธิบาย  คำบรรยาย เช่น ประกาศเตือนภัยต่างๆ  ยาและการใช้ยา การใช้อุปกรณ์และสิ่งของ  การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
-    Modal verb : should/ ought to/ need/ have to/ must+ verb ที่เป็น infinitive without to เช่น You should have it after  meal. (Active Voice)/The doses must be divided. (Passive Voice)
-   Direct/Indirect Speech
-   คำสันธาน (conjunction) and/ but/ or/ so/ not only…but also/ both…and/ as well as/ after/ because    etc.
-   ตัวเชื่อม (connective words) เช่น First,… Second,… Third,… Fourth,… Next,… Then,… Finally,…      etc.

. อ่านออกเสียงข้อความ  ข่าว ประกาศ โฆษณา บทร้อยกรอง และบทละครสั้น (skit) ถูกต้องตามหลักการอ่าน  

ข้อความ ข่าว ประกาศ โฆษณา บทร้อยกรอง และ
บทละครสั้น
การใช้พจนานุกรม
หลักการอ่านออกเสียง เช่น
  - การออกเสียงพยัญชนะต้นคำและพยัญชนะท้ายคำ   สระเสียงสั้น สระเสียงยาว สระประสม


ชั้น
ตัวชี้วัด
สาระการเรียนรู้แกนกลาง
. -


-   การออกเสียงเน้นหนัก-เบา ในคำและกลุ่มคำ
  - การออกเสียงตามระดับเสียงสูง-ต่ำ ในประโยค
-   การออกเสียงเชื่อมโยงในข้อความ
-   การแบ่งวรรคตอนในการอ่าน
-   การอ่านบทร้อยกรองตามจังหวะ

. อธิบายและเขียนประโยค
และข้อความให้สัมพันธ์กับสื่อที่ไม่ใช่ความเรียงรูปแบบต่างๆ ที่อ่าน รวมทั้งระบุและเขียนสื่อที่ไม่ใช่ความเรียงรูปแบบต่างๆ ให้สัมพันธ์กับประโยค และข้อความที่ฟังหรืออ่าน
ประโยคและข้อความ
การตีความ/ถ่ายโอนข้อมูลให้สัมพันธ์กับสื่อที่ไม่ใช่ความเรียง เช่น ภาพ แผนผัง กราฟ แผนภูมิ ตาราง อักษรย่อ จากกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ด้วยการพูดและการเขียนอธิบาย โดยใช้ Comparison of adjectives/ adverbs/ Contrast : but, although, however, in spite of…/ Logical connectives เช่น  caused by/ followed by/ consist of.       etc.

. จับใจความสำคัญ  วิเคราะห์ความสรุปความ ตีความ  และแสดงความคิดเห็นจากการฟังและอ่านเรื่องที่เป็นสารคดีและบันเทิงคดี  พร้อมทั้งให้เหตุผลและยกตัวอย่างประกอบ
เรื่องที่เป็นสารคดีและบันเทิงคดี
การจับใจความสำคัญ  การสรุปความ การวิเคราะห์ความการตีความ
การใช้ skimming/scanning/guessing/context clue
ประโยคที่ใช้ในการแสดงความคิดเห็น  การให้เหตุผลและการยกตัวอย่าง เช่น  I believe…/ I agree with… but…/  Well, I must say…/ What do you think of /about…?/I think/don’t think…?/ What’s your opinion about…?/ In my opinion…/
-  if clauses
-  so…that/such…that
-  too to…/enough to…
-  on the other hand,…
-  other (s)/another/the other (s)
-  คำสันธาน (conjunctions) because/and/so/but/
   however/because of/due to/owing to       etc.
-  Infinitive pronouns : some, any, someone, anyone, everyone, one, ones      etc.
-  Tenses : present simple/present continuous/
    present perfect/past simple/future tense   etc.
-  Simple sentence/Compound sentence/Complex  sentence              
สาระที่ ๑  ภาษาเพื่อการสื่อสาร
มาตรฐาน ต ๑.   มีทักษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร   แสดงความรู้สึก
                                 
 และความคิดเห็นอย่างมีประสิทธิภาพ
ม.๔-
. สนทนาและเขียนโต้ตอบข้อมูลเกี่ยวกับตนเองและเรื่องต่าง ๆ     ใกล้ตัว ประสบการณ์  สถานการณ์  ข่าว/  เหตุการณ์ ประเด็นที่อยู่ในความสนใจของสังคม และสื่อสาร
อย่างต่อเนื่องและเหมาะสม
ภาษาที่ใช้ในการสื่อสารระหว่างบุคคล เช่น การทักทาย  กล่าวลา ขอบคุณ  ขอโทษ ชมเชย  การพูดแทรกอย่างสุภาพ  การชักชวน  การแลกเปลี่ยนข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง  เรื่องใกล้ตัว สถานการณ์ต่างๆ ในชีวิตประจำวัน การสนทนา/เขียนข้อมูลเกี่ยวกับตนเองและบุคคลใกล้ตัว  ประสบการณ์  สถานการณ์ต่างๆ ข่าวเหตุการณ์  ประเด็นที่อยู่ในความสนใจของสังคม

. เลือกและใช้คำขอร้อง ให้คำแนะนำ  คำชี้แจง คำอธิบาย    อย่างคล่องแคล่ว
คำขอร้อง คำแนะนำ คำชี้แจง  คำอธิบาย ที่มีขั้นตอนซับซ้อน

.พูดและเขียนแสดงความต้องการ  เสนอ  ตอบรับและปฏิเสธการให้ความช่วยเหลือในสถานการณ์จำลองหรือสถานการณ์จริงอย่างเหมาะสม 
ภาษาที่ใช้ในการแสดงความต้องการ เสนอและให้ความช่วยเหลือ ตอบรับและปฏิเสธการให้ความช่วยเหลือในสถานการณ์ต่างๆ  เช่น
Please…/…, please./ I’d like…/ I need…/ May/Can/Could…?/Would you please…?Yes,../ Please do./ Certainly./ Yes, of course./Sure./ Need some help?/ What can I do to help?/ Would you like any help?/ If you like I could…/ What can I do to help?/ Would you like any help?/ Would you like me to help you?/ If you need anything, please…/ Is there anything I can do?/ I’ll do it for you./ I’m afraid…/ I’m sorry, but…/ Sorry, but…            etc.

ชั้น
ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ม.๔-
. พูดและเขียนเพื่อขอและให้ข้อมูล บรรยาย  อธิบาย เปรียบเทียบ
และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่อง/ประเด็น/ข่าว/เหตุการณ์ที่ฟังและอ่านอย่างเหมาะสม
คำศัพท์  สำนวน ประโยคและข้อความที่ใช้ในการขอและให้ข้อมูล บรรยาย อธิบาย   เปรียบเทียบ  และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประเด็น/ข่าว/เหตุการณ์ที่ฟังและอ่าน

. พูดและเขียนบรรยายความรู้สึกและแสดงความคิดเห็นของตนเองเกี่ยวกับ เรื่องต่างๆ  กิจกรรม ประสบการณ์  และข่าว/เหตุการณ์อย่างมีเหตุผล
ภาษาที่ใช้ในการแสดงความรู้สึก ความคิดเห็น และ
ให้เหตุผลประกอบ  เช่น ชอบ ไม่ชอบ ดีใจ เสียใจ         มีความสุข  เศร้า หิว รสชาติ สวย น่าเกลียด เสียงดัง ดี   ไม่ดี  จากข่าว เหตุการณ์ สถานการณ์ ในชีวิตประจำวัน
เช่น
Nice./Very nice./Well done!/Congratulations on…
I like… because…/ I love… because…/
I feel… because…/I think…/I believe…/
I agree/disagree…/ I’m afraid I don’t like…/
I don’t believe…/I have no idea…/ Oh no!          etc.















สาระที่ ๑  ภาษาเพื่อการสื่อสาร
มาตรฐาน ต ๑.  นำเสนอข้อมูลข่าวสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเห็นในเรื่องต่างๆ โดยการพูด
                               
 และการเขียน

ชั้น
ตัวชี้วัด
สาระการเรียนรู้แกนกลาง
.-
. พูดและเขียนนำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง  ประสบการณ์ ข่าว/เหตุการณ์ เรื่องและประเด็นต่างๆ ตามความสนใจของสังคม
การนำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง ประสบการณ์  ข่าว/เหตุการณ์ เรื่องและประเด็นที่อยู่ในความสนใจของสังคม เช่น การเดินทาง การรับประทานอาหาร การเล่นกีฬา/ดนตรี  การดูภาพยนตร์ การฟังเพลง  การเลี้ยงสัตว์การอ่านหนังสือ การท่องเที่ยว การศึกษา สภาพสังคม เศรษฐกิจ    

. พูดและเขียนสรุปใจความสำคัญ/
แก่นสาระที่ได้จากการวิเคราะห์เรื่อง กิจกรรม ข่าว  เหตุการณ์ และสถานการณ์ตามความสนใจ
การจับใจความสำคัญ/แก่นสาระ
การวิเคราะห์เรื่อง กิจกรรม ข่าว เหตุการณ์  และสถานการณ์ตามความสนใจ

. พูดและเขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรม ประสบการณ์  และเหตุการณ์ ทั้งในท้องถิ่น  สังคม  และโลก  พร้อมทั้งให้เหตุผลและยกตัวอย่างประกอบ
การแสดงความคิดเห็น  การให้เหตุผลประกอบและยกตัวอย่างเกี่ยวกับกิจกรรม ประสบการณ์ และเหตุการณ์ในท้องถิ่น  สังคม  และโลก












 สาระที่ ๒  ภาษาและวัฒนธรรม
มาตรฐาน ต .    เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา และนำไปใช้ได้อย่างเหมาะสมกับกาลเทศะ





ชั้น
ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ม.๔-
. เลือกใช้ภาษา น้ำเสียง และกิริยาท่าทางเหมาะกับระดับของบุคคล  โอกาส และสถานที่  ตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา 
การเลือกใช้ภาษา  น้ำเสียง และกิริยาท่าทางในการสนทนา  ระดับของภาษา  มารยาทสังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา เช่น  การขอบคุณ
ขอโทษ  การชมเชย  การใช้สีหน้าท่าทางประกอบ การพูดขณะแนะนำตนเอง  การสัมผัสมือ การโบกมือ การแสดงความ รู้สึกชอบ/ไม่ชอบ  การกล่าวอวยพร การแสดงอาการตอบรับหรือปฏิเสธ   

. อธิบาย/อภิปรายวิถีชีวิต ความคิด
ความเชื่อ    และที่มาของขนบธรรมเนียม และประเพณีของเจ้าของภาษา
วิถีชีวิต  ความคิด  ความเชื่อ และที่มาของขนบธรรมเนียม และประเพณีของเจ้าของภาษา

. เข้าร่วม แนะนำ และจัดกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมอย่างเหมาะสม
กิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรม  เช่น การเล่นเกม การร้องเพลง การเล่านิทาน/เรื่องจากภาพยนตร์ บทบาทสมมุติ  ละครสั้น  วันขอบคุณพระเจ้า
วันคริสต์มาส  วันขึ้นปีใหม่
  วันวาเลนไทน์     




 สาระที่ ๒              ภาษาและวัฒนธรรม
มาตรฐาน ต .   เข้าใจความเหมือนและความแตกต่างระหว่างภาษาและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษากับภาษาและวัฒนธรรมไทย และนำมาใช้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
ม.๔-
. อธิบาย/เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างโครงสร้างประโยค ข้อความ สำนวน  คำพังเพย  สุภาษิต และบทกลอนของภาษาต่างประเทศและภาษาไทย
การอธิบาย/การเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างโครงสร้างประโยค ข้อความ สำนวน คำพังเพย สุภาษิต และบทกลอนของภาษาต่างประเทศและภาษาไทย

. วิเคราะห์/อภิปราย ความเหมือนและความแตกต่างระหว่างวิถีชีวิต ความเชื่อและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษากับของไทยและนำไปใช้อย่างมีเหตุผล
การวิเคราะห์/การอภิปรายความเหมือนและความแตกต่างระหว่างวิถีชีวิต ความเชื่อและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษากับของไทย  การนำวัฒนธรรมของเจ้าของภาษาไปใช้

 สาระที่ ๓  ภาษากับความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น
มาตรฐาน ต ๓.   ใช้ภาษาต่างประเทศในการเชื่อมโยงความรู้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น และเป็นพื้นฐานในการพัฒนา  แสวงหาความรู้ และเปิดโลกทัศน์ของตน

ชั้น
ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ม.๔-
. ค้นคว้า/สืบค้น บันทึก  สรุป  และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับข้อมูล
ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ และนำเสนอด้วยการพูดและการเขียน
การค้นคว้า/การสืบค้น การบันทึก การสรุป  การแสดงความคิดเห็น และนำเสนอข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ


 สาระที่ ๔  ภาษากับความสัมพันธ์กับชุมชนและโลก
มาตรฐาน ต ๔.   ใช้ภาษาต่างประเทศในสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในสถานศึกษา ชุมชน และสังคม



ม.๔-
. ใช้ภาษาสื่อสารในสถานการณ์จริง/สถานการณ์จำลองที่เกิดขึ้นในห้องเรียน สถานศึกษา  ชุมชน และสังคม
การใช้ภาษาสื่อสารในสถานการณ์จริง/สถานการณ์จำลองเสมือนจริงที่เกิดขึ้นในห้องเรียน สถานศึกษา ชุมชน  และสังคม

สาระที่ ๔  ภาษากับความสัมพันธ์กับชุมชนและโลก
มาตรฐาน ต ๔.   ใช้ภาษาต่างประเทศเป็นเครื่องมือพื้นฐานในการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพ และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสังคมโลก
ม.๔-
. ใช้ภาษาต่างประเทศในการสืบค้น/ค้นคว้า รวบรวม วิเคราะห์ และสรุปความรู้/ข้อมูลต่างๆ จากสื่อและแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ ในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ
การใช้ภาษาต่างประเทศในการสืบค้น/การค้นคว้าความรู้/ข้อมูลต่างๆ จากสื่อและแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ  ในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ


. เผยแพร่/ประชาสัมพันธ์ ข้อมูล  ข่าวสารของโรงเรียน  ชุมชน  และท้องถิ่น/ประเทศชาติ เป็นภาษาต่างประเทศ
การใช้ภาษาอังกฤษในการเผยแพร่/ประชาสัมพันธ์ข้อมูล ข่าวสารของโรงเรียน ชุมชน และท้องถิ่น/ประเทศชาติ  เช่น  การทำหนังสือเล่มเล็กแนะนำโรงเรียน ชุมชน ท้องถิ่น/ประเทศชาติ  การทำแผ่นปลิว ป้ายคำขวัญ  คำเชิญชวนแนะนำโรงเรียน สถานที่สำคัญในชุมชนและท้องถิ่น/ประเทศชาติ  การนำเสนอข้อมูลข่าวสารในโรงเรียน  ชุมชน  ท้องถิ่น/ประเทศชาติเป็นภาษาอังกฤษ   





ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง

สาระที่ ๑  ภาษาเพื่อการสื่อสาร
มาตรฐาน ต .    เข้าใจและตีความเรื่องที่ฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่างๆ และแสดงความคิดเห็น  อย่างมีเหตุผล
. -

. ปฏิบัติตามคำแนะนำในคู่มือ
การใช้งานต่างๆ  คำชี้แจง คำอธิบาย และคำบรรยายที่ฟังและอ่าน
คำแนะนำ  คำชี้แจง  คำอธิบาย  คำบรรยาย เช่น ประกาศเตือนภัยต่างๆ  ยาและการใช้ยา การใช้อุปกรณ์และสิ่งของ  การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
-    Modal verb : should/ ought to/ need/ have to/ must+ verb ที่เป็น infinitive without to เช่น You should have it after  meal. (Active Voice)/The doses must be divided. (Passive Voice)
-   Direct/Indirect Speech
-   คำสันธาน (conjunction) and/ but/ or/ so/ not only…but also/ both…and/ as well as/ after/ because    etc.
-   ตัวเชื่อม (connective words) เช่น First,… Second,… Third,… Fourth,… Next,… Then,… Finally,…      etc.

. อ่านออกเสียงข้อความ  ข่าว ประกาศ โฆษณา บทร้อยกรอง และบทละครสั้น (skit) ถูกต้องตามหลักการอ่าน  

ข้อความ ข่าว ประกาศ โฆษณา บทร้อยกรอง และ
บทละครสั้น
การใช้พจนานุกรม
หลักการอ่านออกเสียง เช่น
  - การออกเสียงพยัญชนะต้นคำและพยัญชนะท้ายคำ   สระเสียงสั้น สระเสียงยาว สระประสม


ชั้น
ตัวชี้วัด
สาระการเรียนรู้แกนกลาง
. -


-   การออกเสียงเน้นหนัก-เบา ในคำและกลุ่มคำ
  - การออกเสียงตามระดับเสียงสูง-ต่ำ ในประโยค
-   การออกเสียงเชื่อมโยงในข้อความ
-   การแบ่งวรรคตอนในการอ่าน
-   การอ่านบทร้อยกรองตามจังหวะ

. อธิบายและเขียนประโยค
และข้อความให้สัมพันธ์กับสื่อที่ไม่ใช่ความเรียงรูปแบบต่างๆ ที่อ่าน รวมทั้งระบุและเขียนสื่อที่ไม่ใช่ความเรียงรูปแบบต่างๆ ให้สัมพันธ์กับประโยค และข้อความที่ฟังหรืออ่าน
ประโยคและข้อความ
การตีความ/ถ่ายโอนข้อมูลให้สัมพันธ์กับสื่อที่ไม่ใช่ความเรียง เช่น ภาพ แผนผัง กราฟ แผนภูมิ ตาราง อักษรย่อ จากกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ด้วยการพูดและการเขียนอธิบาย โดยใช้ Comparison of adjectives/ adverbs/ Contrast : but, although, however, in spite of…/ Logical connectives เช่น  caused by/ followed by/ consist of.       etc.

. จับใจความสำคัญ  วิเคราะห์ความสรุปความ ตีความ  และแสดงความคิดเห็นจากการฟังและอ่านเรื่องที่เป็นสารคดีและบันเทิงคดี  พร้อมทั้งให้เหตุผลและยกตัวอย่างประกอบ
เรื่องที่เป็นสารคดีและบันเทิงคดี
การจับใจความสำคัญ  การสรุปความ การวิเคราะห์ความการตีความ
การใช้ skimming/scanning/guessing/context clue
ประโยคที่ใช้ในการแสดงความคิดเห็น  การให้เหตุผลและการยกตัวอย่าง เช่น  I believe…/ I agree with… but…/  Well, I must say…/ What do you think of /about…?/I think/don’t think…?/ What’s your opinion about…?/ In my opinion…/
-  if clauses
-  so…that/such…that
-  too to…/enough to…
-  on the other hand,…
-  other (s)/another/the other (s)
-  คำสันธาน (conjunctions) because/and/so/but/
   however/because of/due to/owing to       etc.
-  Infinitive pronouns : some, any, someone, anyone, everyone, one, ones      etc.
-  Tenses : present simple/present continuous/
    present perfect/past simple/future tense   etc.
-  Simple sentence/Compound sentence/Complex  sentence              
สาระที่ ๑  ภาษาเพื่อการสื่อสาร
มาตรฐาน ต ๑.   มีทักษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร   แสดงความรู้สึก
                                 
 และความคิดเห็นอย่างมีประสิทธิภาพ
ม.๔-
. สนทนาและเขียนโต้ตอบข้อมูลเกี่ยวกับตนเองและเรื่องต่าง ๆ     ใกล้ตัว ประสบการณ์  สถานการณ์  ข่าว/  เหตุการณ์ ประเด็นที่อยู่ในความสนใจของสังคม และสื่อสาร
อย่างต่อเนื่องและเหมาะสม
ภาษาที่ใช้ในการสื่อสารระหว่างบุคคล เช่น การทักทาย  กล่าวลา ขอบคุณ  ขอโทษ ชมเชย  การพูดแทรกอย่างสุภาพ  การชักชวน  การแลกเปลี่ยนข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง  เรื่องใกล้ตัว สถานการณ์ต่างๆ ในชีวิตประจำวัน การสนทนา/เขียนข้อมูลเกี่ยวกับตนเองและบุคคลใกล้ตัว  ประสบการณ์  สถานการณ์ต่างๆ ข่าวเหตุการณ์  ประเด็นที่อยู่ในความสนใจของสังคม

. เลือกและใช้คำขอร้อง ให้คำแนะนำ  คำชี้แจง คำอธิบาย    อย่างคล่องแคล่ว
คำขอร้อง คำแนะนำ คำชี้แจง  คำอธิบาย ที่มีขั้นตอนซับซ้อน

.พูดและเขียนแสดงความต้องการ  เสนอ  ตอบรับและปฏิเสธการให้ความช่วยเหลือในสถานการณ์จำลองหรือสถานการณ์จริงอย่างเหมาะสม 
ภาษาที่ใช้ในการแสดงความต้องการ เสนอและให้ความช่วยเหลือ ตอบรับและปฏิเสธการให้ความช่วยเหลือในสถานการณ์ต่างๆ  เช่น
Please…/…, please./ I’d like…/ I need…/ May/Can/Could…?/Would you please…?Yes,../ Please do./ Certainly./ Yes, of course./Sure./ Need some help?/ What can I do to help?/ Would you like any help?/ If you like I could…/ What can I do to help?/ Would you like any help?/ Would you like me to help you?/ If you need anything, please…/ Is there anything I can do?/ I’ll do it for you./ I’m afraid…/ I’m sorry, but…/ Sorry, but…            etc.

ชั้น
ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ม.๔-
. พูดและเขียนเพื่อขอและให้ข้อมูล บรรยาย  อธิบาย เปรียบเทียบ
และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่อง/ประเด็น/ข่าว/เหตุการณ์ที่ฟังและอ่านอย่างเหมาะสม
คำศัพท์  สำนวน ประโยคและข้อความที่ใช้ในการขอและให้ข้อมูล บรรยาย อธิบาย   เปรียบเทียบ  และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประเด็น/ข่าว/เหตุการณ์ที่ฟังและอ่าน

. พูดและเขียนบรรยายความรู้สึกและแสดงความคิดเห็นของตนเองเกี่ยวกับ เรื่องต่างๆ  กิจกรรม ประสบการณ์  และข่าว/เหตุการณ์อย่างมีเหตุผล
ภาษาที่ใช้ในการแสดงความรู้สึก ความคิดเห็น และ
ให้เหตุผลประกอบ  เช่น ชอบ ไม่ชอบ ดีใจ เสียใจ         มีความสุข  เศร้า หิว รสชาติ สวย น่าเกลียด เสียงดัง ดี   ไม่ดี  จากข่าว เหตุการณ์ สถานการณ์ ในชีวิตประจำวัน
เช่น
Nice./Very nice./Well done!/Congratulations on…
I like… because…/ I love… because…/
I feel… because…/I think…/I believe…/
I agree/disagree…/ I’m afraid I don’t like…/
I don’t believe…/I have no idea…/ Oh no!          etc.















สาระที่ ๑  ภาษาเพื่อการสื่อสาร
มาตรฐาน ต ๑.  นำเสนอข้อมูลข่าวสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเห็นในเรื่องต่างๆ โดยการพูด
                               
 และการเขียน

ชั้น
ตัวชี้วัด
สาระการเรียนรู้แกนกลาง
.-
. พูดและเขียนนำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง  ประสบการณ์ ข่าว/เหตุการณ์ เรื่องและประเด็นต่างๆ ตามความสนใจของสังคม
การนำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง ประสบการณ์  ข่าว/เหตุการณ์ เรื่องและประเด็นที่อยู่ในความสนใจของสังคม เช่น การเดินทาง การรับประทานอาหาร การเล่นกีฬา/ดนตรี  การดูภาพยนตร์ การฟังเพลง  การเลี้ยงสัตว์การอ่านหนังสือ การท่องเที่ยว การศึกษา สภาพสังคม เศรษฐกิจ    

. พูดและเขียนสรุปใจความสำคัญ/
แก่นสาระที่ได้จากการวิเคราะห์เรื่อง กิจกรรม ข่าว  เหตุการณ์ และสถานการณ์ตามความสนใจ
การจับใจความสำคัญ/แก่นสาระ
การวิเคราะห์เรื่อง กิจกรรม ข่าว เหตุการณ์  และสถานการณ์ตามความสนใจ

. พูดและเขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรม ประสบการณ์  และเหตุการณ์ ทั้งในท้องถิ่น  สังคม  และโลก  พร้อมทั้งให้เหตุผลและยกตัวอย่างประกอบ
การแสดงความคิดเห็น  การให้เหตุผลประกอบและยกตัวอย่างเกี่ยวกับกิจกรรม ประสบการณ์ และเหตุการณ์ในท้องถิ่น  สังคม  และโลก












 สาระที่ ๒  ภาษาและวัฒนธรรม
มาตรฐาน ต .    เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา และนำไปใช้ได้อย่างเหมาะสมกับกาลเทศะ





ชั้น
ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ม.๔-
. เลือกใช้ภาษา น้ำเสียง และกิริยาท่าทางเหมาะกับระดับของบุคคล  โอกาส และสถานที่  ตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา 
การเลือกใช้ภาษา  น้ำเสียง และกิริยาท่าทางในการสนทนา  ระดับของภาษา  มารยาทสังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา เช่น  การขอบคุณ
ขอโทษ  การชมเชย  การใช้สีหน้าท่าทางประกอบ การพูดขณะแนะนำตนเอง  การสัมผัสมือ การโบกมือ การแสดงความ รู้สึกชอบ/ไม่ชอบ  การกล่าวอวยพร การแสดงอาการตอบรับหรือปฏิเสธ   

. อธิบาย/อภิปรายวิถีชีวิต ความคิด
ความเชื่อ    และที่มาของขนบธรรมเนียม และประเพณีของเจ้าของภาษา
วิถีชีวิต  ความคิด  ความเชื่อ และที่มาของขนบธรรมเนียม และประเพณีของเจ้าของภาษา

. เข้าร่วม แนะนำ และจัดกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมอย่างเหมาะสม
กิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรม  เช่น การเล่นเกม การร้องเพลง การเล่านิทาน/เรื่องจากภาพยนตร์ บทบาทสมมุติ  ละครสั้น  วันขอบคุณพระเจ้า
วันคริสต์มาส  วันขึ้นปีใหม่
  วันวาเลนไทน์     




 สาระที่ ๒              ภาษาและวัฒนธรรม
มาตรฐาน ต .   เข้าใจความเหมือนและความแตกต่างระหว่างภาษาและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษากับภาษาและวัฒนธรรมไทย และนำมาใช้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
ม.๔-
. อธิบาย/เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างโครงสร้างประโยค ข้อความ สำนวน  คำพังเพย  สุภาษิต และบทกลอนของภาษาต่างประเทศและภาษาไทย
การอธิบาย/การเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างโครงสร้างประโยค ข้อความ สำนวน คำพังเพย สุภาษิต และบทกลอนของภาษาต่างประเทศและภาษาไทย

. วิเคราะห์/อภิปราย ความเหมือนและความแตกต่างระหว่างวิถีชีวิต ความเชื่อและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษากับของไทยและนำไปใช้อย่างมีเหตุผล
การวิเคราะห์/การอภิปรายความเหมือนและความแตกต่างระหว่างวิถีชีวิต ความเชื่อและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษากับของไทย  การนำวัฒนธรรมของเจ้าของภาษาไปใช้

 สาระที่ ๓  ภาษากับความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น
มาตรฐาน ต ๓.   ใช้ภาษาต่างประเทศในการเชื่อมโยงความรู้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น และเป็นพื้นฐานในการพัฒนา  แสวงหาความรู้ และเปิดโลกทัศน์ของตน

ชั้น
ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ม.๔-
. ค้นคว้า/สืบค้น บันทึก  สรุป  และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับข้อมูล
ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ และนำเสนอด้วยการพูดและการเขียน
การค้นคว้า/การสืบค้น การบันทึก การสรุป  การแสดงความคิดเห็น และนำเสนอข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ


 สาระที่ ๔  ภาษากับความสัมพันธ์กับชุมชนและโลก
มาตรฐาน ต ๔.   ใช้ภาษาต่างประเทศในสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในสถานศึกษา ชุมชน และสังคม



ม.๔-
. ใช้ภาษาสื่อสารในสถานการณ์จริง/สถานการณ์จำลองที่เกิดขึ้นในห้องเรียน สถานศึกษา  ชุมชน และสังคม
การใช้ภาษาสื่อสารในสถานการณ์จริง/สถานการณ์จำลองเสมือนจริงที่เกิดขึ้นในห้องเรียน สถานศึกษา ชุมชน  และสังคม

สาระที่ ๔  ภาษากับความสัมพันธ์กับชุมชนและโลก
มาตรฐาน ต ๔.   ใช้ภาษาต่างประเทศเป็นเครื่องมือพื้นฐานในการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพ และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสังคมโลก
ม.๔-
. ใช้ภาษาต่างประเทศในการสืบค้น/ค้นคว้า รวบรวม วิเคราะห์ และสรุปความรู้/ข้อมูลต่างๆ จากสื่อและแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ ในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ
การใช้ภาษาต่างประเทศในการสืบค้น/การค้นคว้าความรู้/ข้อมูลต่างๆ จากสื่อและแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ  ในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ


. เผยแพร่/ประชาสัมพันธ์ ข้อมูล  ข่าวสารของโรงเรียน  ชุมชน  และท้องถิ่น/ประเทศชาติ เป็นภาษาต่างประเทศ
การใช้ภาษาอังกฤษในการเผยแพร่/ประชาสัมพันธ์ข้อมูล ข่าวสารของโรงเรียน ชุมชน และท้องถิ่น/ประเทศชาติ  เช่น  การทำหนังสือเล่มเล็กแนะนำโรงเรียน ชุมชน ท้องถิ่น/ประเทศชาติ  การทำแผ่นปลิว ป้ายคำขวัญ  คำเชิญชวนแนะนำโรงเรียน สถานที่สำคัญในชุมชนและท้องถิ่น/ประเทศชาติ  การนำเสนอข้อมูลข่าวสารในโรงเรียน  ชุมชน  ท้องถิ่น/ประเทศชาติเป็นภาษาอังกฤษ